การประกาศ class 
การประกาศ Class
คลาสเปรียบเสมือนแม่พิมพ์ วัตถุเป็นผลิตผลที่เกิดจากแม่พิมพ์ ดังนั้น การที่จะสร้างวัตถุได้ จึงจำเป็นต้องอาศัยแม่พิมพ์หรือคลาสนี้ สำหรับการประกาศคลาสเริ่มต้นด้วยคำหลัก Class ตามด้วยชื่อของClass กำหนดขอบเขตด้วย {} และจบด้วยเครื่องหมาย เซมิโคลอน (;)
รูปแบบคำสั่ง
สำหรับคนที่ยังไม่เคยเขียนโปรแกรมแบบ OOP อาจจะต้องศึกษาเพิ่มเติมกันนะค่ะ ถ้าให้สอนเองด้วยเดี่ยวจะยาว ขั้นแรก เรามาดูรูปแบบการประกาศ class กันก่อน

ในรูปนี้เป็นเพียงการประกาศ ตัวแปร(Member variable) และเมธอด (Method) ของคลาสเท่านั้น ยังมีการประกาศ Property ที่เป็นการกำหนดคุณสมบัติให้กับตัวแปรอีก
ใน Objective-C นั้นเราสามารถประกาศตัวแปรได้ทั้ง 2 แบบ คือแบบ Strong type และแบบ Weak type สำหรับการประกาศแบบ Strong type ก็ประกาศแบบปกติโดยขึ้นต้นด้วยชื่อ class และตามด้วย * (หมายถึงการเป็น pointer) และตามด้วยชื่อของ object ที่เราจะตั้ง แต่การประกาศแบบ Weak type นั้นจะใช้คำว่า id นำหน้าโดย “ไม่ต้องมี *” เพราะการประกาศ id นั้นจะเป็นการประกาศตัวแปรที่เป็น pointer ไปโดยอัตโนมัติ ซึ่งจะใช้บ่อยอยู่พอสมควรในกรณีที่เราไม่รู้ว่า object นั้นเป็น type อะไร ดังนี้
MyClass *myObject1; // Strong typing
id myObject2; // Weak typing
การประกาศ classโปรแกรมภาษาจาวาแต่ละโปรแกรมจะประกอบไปด้วยคลาสอย่างน้อย หนึ่งคลาส โดยมีรูปแบบการประกาศ ดังนี้[modifier] class Classname {}- Modifier คือคีย์เวิร์ด ของภาษาจาวาที่ใช้ในการอธิบายระดับการเข้าถึง (Access modifier)- class คือคีย์เวิร์ด ของภาษาจาวา เพื่อระบุว่าเป็นการประกาศคลาส- Classname คือชื่อคลาสpublic class Student { …………………...}
2.2 การประกาศ attributesคุณลักษณะของออปเจ็ค คือตัวแปรหรือค่าคงที่ซึ่งประกาศภายในออปเจ็ค โดยมีรูปแบบการประกาศดังนี้[modifier] dataType attributeName;- Modifier คือคีย์เวิร์ดของภาษาจาวาที่อธิบายคุณสมบัติต่างๆ ของตัวแปรหรือค่าคงที่- dataType คือชนิดข้อมูลซึ่งอาจเป็นชนิดข้อมูลพื้นฐานหรือชนิดคลาส- attributeName คือชื่อของคุณลักษณะตัวอย่างการประกาศคุณลักษณะpublic class Student {public String id;public String name;public double gpa;}








อ้างอิงจาก:http://javasupaporn.blogspot.com/2012/12/21-class.html
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น